ส่วนที่ใช้ ผล เมล็ด ต้นสด สรรพคุณของส่วนต่างๆ
ผล
- แก้บิด ถ่ายเป็นเลือด ถ่ายเป็นมูก แก้ริดสีดวงทวาร มีเลือดออก แก้ท้องอืดเฟ้อ เมล็ด - แก้ปวดฟัน ปากเจ็บ ต้นสด
- ช่วยให้ผื่นหัดออกเร็วขึ้น แก้เด็กเป็นผื่นแดงไฟ อาการของโรคและวิธีการใช้
1. แก้บิดถ่ายเป็นเลือด ใช้ผล 1 ถ้วยชา ตำผสมน้ำตาล ทราย ผสมน้ำดื่ม
2. แก้บิด ถ่ายเป็นมูก ใช้น้ำจากผลสดอุ่น ผสมเหล้าดื่ม
3. แก้ริดสีดวงทวาร มีเลือดออก - ใช้ผลสดบดให้แตก ลามทุ่ง หล้าดื่มวันละ 5 ครั้ง หรือใช้ต้นสด 120 กรัม ใส่นม
4. แก้ท้องอืดเฟ้อ ใช้ผล 2 ช้อนชา ต้มน้ำดื่ม
5. แก้เด็กเป็นผื่นแดงไฟลามทุ่ง ช่วยให้ผื่นหัดออกเร็วขึ้น ใช้ต้นสด หั่นเป็นฝอย ใส่เหล้าต้มให้เดือด ใช้ทา
6. แก้ปวดฟัน ปากเจ็บ ใช้เมล็ดต้มน้ำ ใช้อมบัวน ปากบ่อยๆ สล็อต ออนไลน์
ส่วนที่ใช้ กิ่งสด เปลือก เปลือกต้น เมล็ด ราก ใบ ส่วนต่างๆ ที่ใช้และสรรพคุณ
กิ่งสด
- ทำให้ฟันทน ไม่ปวดฟัน ฟันแข็งแรง ไม่ผุ
เปลือก
- แก้บิด แก้ท้องเสีย แก้ไข้ ฆ่าเชื้อจุลินทรีย์
เปลือกต้น
- แก้ริดสีดวงจมูก
เมล็ด
- ฆ่าเชื้อในช่องปาก และทางเดินอาหาร เป็นยา อายุวัฒนะ บำรุงธาตุ ขับลมในลำไส้
รากเปลือก
- เป็นยาบำรุงหัวใจ อาการของโรคและวิธีการใช้ ใส่เกลือเคี่ยวให้งวด เหลือน้ำครึ่งเดียว อมเช้า-เย็น ทำให้ฟันทน ไม่ปวดฟัน ใช้กิ่งสด 5-6 นิ้วฟุต นั่นต้ม
2. แก้บิด แก้ท้องเสีย
3. แก้ไข้ ใช้เปลือกต้มกับน้ำดื่ม ผสมน้ำตาลดื่ม
ดื่มวันละ 5 ครั้ง หรือใช้ต้นสด 120 กรัม ใส่นม
4. แก้ท้องอืดเฟ้อ ใช้ผล 2 ช้อนชา ต้มน้ำดื่ม
5. แก้เด็กเป็นผื่นแดงไฟลามทุ่ง ช่วยให้ผื่นหัดออกเร็วขึ้น ใช้ต้นสด หั่นเป็นฝอย ใส่เหล้าต้มให้เดือด ใช้ทา 6. แก้ปวดฟัน ปากเจ็บ ใช้เมล็ดต้มน้ำ ใช้อมบัวน ปากบ่อยๆ
ส่วนที่ใช้ ใบและช่อดอก - เก็บตอนฤดูร้อนและฤดูหนาว ตาก แห้งเก็บไว้ใช้ หรืออาจใช้สด สรรพคุณของส่วนต่างๆ และวิธีการใช้ ใบ - รสชุ่มเย็น มีกลิ่นฉุน ใช้แก้ฝีฝักบัว ฝีพุพอง เด็กเป็นตานขโมย ตุ่มมีหนอง บวมอักเสบโดยไม่รู้สาเหตุ ใช้ภายใน - ใช้ใบแห้ง 5-10 กรัม ต้มน้ำดื่ม ใช้ภายนอก - ใช้ใบตำพอก หรือต้มเอาน้ำชะล้างบริเวณ ที่เป็น ช่อดอก - รสขม ฉุนเล็กน้อย ใช้กล่อมตับ ขับร้อน ละลาย เสมหะ แก้เวียนศีรษะ ตาเจ็บ ไอหวัด ไอกรน หลอดลมอักเสบ เต้านมอักเสบ คางทูม เรียกเนื้อ ทำให้แผลหายเร็วขึ้น และแก้ ปวดฟัน ใช้ภายใน ใช้ช่อดอก 3-10 กรัม ต้มน้ำดื่ม ใช้ภายนอก ช่อดอกต้มเอาน้ำชะล้างบริเวณที่เป็น
ส่วนที่ใช้ ส่วนต่างๆ ที่ใช้ วิธีการ และสรรพคุณ
ใช้เมล็ด
- เผาสูดดมควันเข้าไป แก้ปวดฟัน
ราก
- มีรสเปรี้ยว เย็นน้อย แก้ดีฝ่อ ดีกระตุก คือ นอน สะดุ้งผวา หลับๆ ตื่นๆ แก้ไข้สันนิบาต แก้น้ำลายเหนียว กัด ฟอกเสมหะ กระทุ้งพิษ ดับพิษร้อนภายใน กลุ่มสรุณไพรรักษาโรคริดสีดวงาวาร
1. ว่านหางจระเข้ ส่วนที่ใช้ ยางในใบ น้ำวุ้น เนื้อวุ้น และเหง้า สรรพคุณของส่วนต่างๆ
ใบ
- รสเย็น ตำผสมสุรา พอกฝี ทั้งต้น - รสเย็น ดองสุราดื่มขับน้ำคาวปลา
ราก
- มีรสขม รับประทานถ่ายโรคหนองใน แก้มุตกิด
ใบ
- เป็นยาระบาย ใบ - ล้างด้วยน้ำสะอาด ฝานบางๆ รักษาแผลสดภายนอก น้ำร้อนลวก ไฟไหม้ ทำให้แผลเป็นจางลง ดับพิษร้อน ทาผิว "ป้องกันและรักษาอาการไหม้จากแสงแดด ทาผิวรักษาสิวฝ้า
เมล็ด ผล ราก ผล ยางในขจัดรอยแผลเป็น
เนื้อวุ้น
- ใช้เหน็บทวาร รักษาริดสีดวงทวาร
เหง้า
- ต้มรับประทานแก้หนองใน โรคมุตกิด
วิธีการใช้และสรรพคุณรักษาโรค
1. อาการสำหรับโรคภายในร่างกาย
1.1 เป็นยาถ่าย ใช้น้ำยางสีเหลืองที่มีรสขม (อาจจะ มีอาการคลื่นไส้ อยากอาเจียน) น้ำยางสีเหลืองที่ไหลออกมา ระหว่างผิวนอกของใบกับตัววุ้น จะให้ยาที่เรียกว่า ยาดำ วิธีการทำยาดำ ตัดใบว่านหางจระเข้ที่โคนใบให้เป็นรูปสามเหลี่ยม (ต้องเป็นพันธุ์เฉพาะ ซึ่งจะมีขนาดใบใหญ่ และอวบน้ำมาก จะ ให้น้ำยางสีเหลืองมาก) ต้นที่เหมาะจะตัด ควรมีอายุ 9 เดือนขึ้นไป จะให้น้ำยางมากไปจนถึงปีที่ 3 และจะให้ไปเรื่อยๆ จนถึงปีที่ 10 ตัดใบว่านหางจระเข้ตรงโคนใบ และปล่อยให้น้ำยางไหลลงใน ภาชนะ นำไปเคี่ยวให้ข้น เทลงในพิมพ์ ทิ้งไว้จะแข็งเป็นก้อน วิธีการใช้ยาดำ ใช้รับประทานเพียง 0.25 กรัม หรือเท่ากับ 250 มิลลิกรัม ประมาณ 1-2 เม็ดถั่วเขียว
1.2 แก้โรคกระเพาะและโรคลำไส้อักเสบ โดยเอ มาปอกเปลือกออก เหลือแต่วุ้น แล้วใช้รับประทาน วันละ 2 เวลา ครั้งละ 2 ช้อนโต๊ะ .3 แก้อาการปวดตามข้อ โดยการดื่มว่านหางจระเข้